วันเสาร์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

วันศุกร์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

DS3231 Module โมดูลนาฬิกา


โมดูลนาฬิกา DS3231 module  ความแม่นยำสูง RTC DS3231 AT24C32 IIC Module
Precision Clock Module for Arduino

 DS3231 module เป็นโมดูนาฬิกาแบบเวลาจริง RTC( Real Time Clock ) ที่มีความถูกต้องแม่นยำสูง
เพราะข้างในมีวงจรวัดอุณหภูมิ เพื่อนำอุณหภูมิจากสภาพแวดล้อมมาคำนวนชดเชยความถี่ของ Crystal ที่
ถูกรบกวนจากอุณหภูมิภายนอก มาพร้อมแบตเตอร์รี่ ใช้งานได้แม้ไม่มีแหล่งจ่ายไฟจากภายนอก สามารถตั้ง
ค่า วัน เวลา ได้อย่างง่าย มีไลบารีมาพร้อมใช้งาน สามารถเลือกแสดงผลเวลาแบบ 24 ชั่วโมงหรือแบบ 12
ชัวโมงก็ได้
นอกจากจะแสดงวันและเวลาได้อย่างแม่นยำแล้ว โมดูลนี้ยังสามารถ แสดงอุณหภูมิภายนอกได้ เป็นเหมือน
นาฬิกาดิจิตอลที่บอกอุณหภูมิได้ด้วย


DS3231 module  Arduino
SCL  A5
SDA  A4
VCC  5V
GND  GND
 
 



// Date, Time and Alarm functions using a DS3231 RTC connected via I2C and Wire lib
#include "Wire.h"
#include "SPI.h"  // not used here, but needed to prevent a RTClib compile error
#include "RTClib.h"
RTC_DS3231 RTC;
void setup () {
  Serial.begin(9600);
  Wire.begin();
  RTC.begin();
  // ตั้งเวลาเตือนให้เอา // ข้างหน้า RTC.adjust ออก
  //RTC.adjust(DateTime(__DATE__, __TIME__));
  if (! RTC.isrunning()) {
    Serial.println("RTC is NOT running!");
    // following line sets the RTC to the date & time this sketch was compiled
    RTC.adjust(DateTime(__DATE__, __TIME__));
  }
  DateTime now = RTC.now();
//กำหนดให้ นาฬิกาเตือนตอน 13:05
  RTC.setAlarm1Simple(13, 5);
  RTC.turnOnAlarm(1);
  if (RTC.checkAlarmEnabled(1)) {
    Serial.println("Alarm Enabled");
  }
}
void loop () {
  DateTime now = RTC.now();
  Serial.print(now.year(), DEC);
  Serial.print('/');
  Serial.print(now.month(), DEC);
  Serial.print('/');
  Serial.print(now.day(), DEC);
  Serial.print(' ');
  Serial.print(now.hour(), DEC);
  Serial.print(':');
  Serial.print(now.minute(), DEC);
  Serial.print(':');
  Serial.print(now.second(), DEC);
  if (RTC.checkIfAlarm(1)) {
    // ถ้านาฬิกาเดินถึง 13:05 จะมาทำงานในนี้
    Serial.println("Alarm Triggered");
  }
  Serial.println();
  Serial.print("Tempeature = ");
  Serial.print(RTC.getTemperature()); // คำสั่งดึงอุณหภูมิออกมาแสดง
  Serial.println(" C");
  delay(1000);
}

วันเสาร์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2558

ทำสาย Upload Receiver ดาวเทียม ค่ายต่าง ๆ








สวัสดีครับเพื่อน ๆ ช่างโรงแรมที่ท่านเนื่องจากในช่วงนี้ วงการจานดาวเทียมบ้านเราผมรู้สึกว่านิ่ง
ผมช่างจ่อย จึงได้นำโอกาศนี้ มาแนะนำการทำสาย  Upload Receiver ค่ายต่างๆ เพื่อใช้งานในเวลา
ที่จำเป็น ต่อไป 


เริ่มจากการจัดหาอุปกรณ์

USB TO RS232 (DB9) มีขายที พันธ์ทิพย์


แจ็ค DB-9 หรือแจ็ค RS 232 มีขายที พันธ์ทิพย์



สายสัญญาณชีลด์ สเตอริโอ 6 มิล(สายไมค์) ไปขอกับ ช่าง Sound

1. USB TO RS232 (DB9)  ยี่ห้อ Z-TEK (เท่านั้น เนื่องจากผมลองหลาย รุ่นแล้ว)
2.แจ็ค DB-9 หรือแจ็ค RS 232
3.สายสัญญาณชีลด์ สเตอริโ่วอ 6 มิล(สายไมค์) ไปขอกับ ช่าง Sound 
4.หัวแร้ง ตะกั่ว ที่ทำงานท่านคงมีอยู่แล้ว

เมื่อท่านได้อุประกรณ์ครบแล้ว เรามาต่อวงจรกันเลยครับ ตามรูป



เมื่อเราต่อสายเสร็จแล้วเรามาศึกษาเรื่องการรับส่ง การรับข้อมูลว่ามีอะไรบ้างที่ใช้งาน

1. ขา 2 จากแจ็ค DB -9 เป็นขาอ่านข้อมูลจากกล่อง Receiver
2. ขา 3 จากแจ็ค DB -9 เป็นขาส่งข้อมูลไปกล่อง Receiver
3. ขา 5 จากแจ็ค DB -9 เป็นขาต่อ GND ระหว่างคอมกับกล่อง Receiver

หมายเหตุ
การต่อวงจร ตามรูป ด้านบน สายชนิดนี้ใช้ได้กับกล่อง ที่มี Prot RS232 DB-9 เช่น dreambox
Openbox Skybox Thaisat


รูป dreambox ตัวอย่าง

ส่วนกล่องทั่วไป เช่น psi dby sunbox dtv และอื่นๆ ต่อตามรูปล่างเลยครับ









เสร็จหวังว่าคงจะเป็นประโยชน์ต่อหลายๆท่าน